ชิ้นงานที่ 9
เทคนิคการนำเสนอ แนวคิคเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ งานโฆษณา
ในการสร้างสรรค์ผลงานให้ประสบความสำเร็จ
หลักการสร้างสื่อ เพื่อการนำเสนอผลงานที่ดี
ตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อไตเติ้ลรายการ Title
ศิลปะในการนำเสนอไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแต่มุมกล้องการจัดเสนอที่สวยงาม สื่ออารมณ์ และความมายตามที่ผู้ผลิต รายการต้องการเท่านั้น ยังมีศิลปะของการนำเสนออีกรูปแบบหนึ่งที่ทุกรายการจะขาดไม่ได้ นั้นคือ ส่วนที่เรียกว่าเป็น ส่วนประกอบรายการ อันได้แก่ ไตเติ้ล ตตัวอย่างรายการ อินเตอร์ลูคหรือดีซีน และทัศนรายการ
ไตเติ้ล คือส่วนประกอบรายการโทรทัศน์ ที่ทำหน้าที่บอกชื่อรายการโดยปกติจะอยู่ ในส่วนทายสุดของรายการ
1. รูปแบบการนำเสนอ
2. ลักษณะของภาพ
3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง
4. ตัวอักษรชื่อรายการ
5. ลำดับการนำเสนอ
6. การใช้เสียง
7. ความยาว
8. ลีลา
1.รูปแบบการนำเสนอไตเติ้ลรายการ คือ วิธีการเล่าเรื่องด้วยภาพที่ปรากฎในไตเติ้ลรายการ
1.1 การใช้ชื่อรายการ มีการใช้เฉพาะ ชื่อรายการเท่านั้นในการนำเสนอ โดยปราศจากภาพที่จะช่วยขยายความหรือเล่าเรื่อง
1.2 การใช้สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ เป็ฯสิ่งที่ใช้แทนความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป
1.3 การนำเสนอบุคคล การนำเสนอบุคคลในไตเติ้ล รายการมี 3 ลักษณะ คือ การแนะนำผู้ดำเนินรายการหรือพิธีกร การแนะนำนักแสดง และการนำเสนอแขกรับเชิญ
1.4 การใช้ภาพแสดงเนื้อหา ภาพแสดงเนื้อหาที่ใช้เป็นรูปแบบการนำเสนอไตเติ้ล ทำให้ผู้ชมทราบได้เป็นอย่างดี
1.5 การสร้างโครงเรื่อง โดยปกติแล้วโครงเรื่องเป็ฯส่วนประกอบสำคัญของการเล่าเรื่องเป็ฯรูปแบบละคร
2. ลักษณะของภาพไตเติ้ลรายการที่ดี
2.1 ชนิดภาพ มีการสร้างสรรค์ภาพโดยใช้ภาพที่ถ่ายจริง มักเป็นไตเติ้ล
2.2 มุมมองภาพ ที่ปรากฎ มักเป็นภาพประเภท
- Simple shot คือ เป็นภาพที่มีเพียงวัตถุเท่านั้นที่เคลื่อนไหว
- Developing shot คือ เป็นภาพที่ประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์
- Complex shot คือ เป็นภาพประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์ (ซูมเข้า-ซูมออก หรือเปลี่ยนระยะชัด)
2.3 ลำดับภาพ คือ วิธีการเรียงร้อยภาพเข้าไว้ด้วยกันเพื่อการสื่อสารไปยังผู้ชม
- การตัดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปต่อท้ายอีกภาพหนึ่ง
- การจางซ้อนภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่ง ไปเชื่อมทั้งภาพหนึ่ง โดยที่ในช่วงการเชื่อมต่อ ช่วงท้ายของภาพแรกค่อย ๆ จางหาย
- การกวาดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปเชื่อมกับอีกภาพหนึ่ง โดยช่วงการเชื่อมต่อยังคงเห็นทั้งสองภาพ มีความชัดเท่านั้น
3.ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง ได้แก่ พื้นที่ เส้น รูปร่าง ความเข้มสี สี การเคลื่อนไหว และจังหวะ
3.1 พื้นที่ การใช้พื้นหลังให้เป็นสามมิติ
3.2 เส้น ปรากฎอยู่ในทุกส่วนของภาพ เพราะเมื่อมีความแตกต่างของความเข้มสีหรือสีตัดกันอย่างชัดเจน เส้นจะพบเห็นในไตเติ้ล
3.3 รูปร่าง การใช้รูปร่างพื้นฐาน ได้แก่ วงกลม สี่เหลี่ยม และสามเหลี่ยม สำหรับรูปร่างพื้นฐาน สองมิติ และทรงกลม ลูกบาศก์
3.4 สีและความเข้มสี สีแต่ละสีให้อารมณ์
สีแดง ตื่นเต้นเร้าใจ
สีเหลือง ดูสดใส ศักดิ์สิทธิ์
สีน้ำเงิน หนักแน่นมีราคา
สีฟ้า ให้ความสุขสบาย โปร่ง
สีเขียว ความรุ้สึกสดชื่น
สีม่วง มีเสน่ห์ ลึกลับ
สีชมพู รู้สึกนุ่มนวล
สีสันหลากหลาย สดใส สนุกสนาน
วันอังคารที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2553
ชิ้นงานที่ 6 โฆษณาการแสดงคอนเสิร์ตของ1 ศิลปินเพลง


2.ข้อมูลเบื้องต้น
“เกิร์ลลี่ เบอร์รี่”
เผยที่มาแห่งความเซ็กซี่ “เรียลลิตี้”เรียกได้ว่าเป็นสาวๆที่เกาะกระแสอินเทรนด์ได้จริงๆสำหรับ 4 สาว “GIRLY BERRY” (เกิร์ลลี่ เบอร์รี่) ซึ่งประกอบไปด้วย “กิ๊ฟซ่า, กิ๊บซี่, แนนนี่ และ เบลล์” ภายใต้การดูแลของค่าย “เมโลดีก้า” บริษัทในเครืออาร์เอสฯ ที่ล่าสุด ออกอัลบั้ม “Reality” (เรียลลิตี้) ซึ่งชื่ออัลบั้ม ก็ไปตรงกับความนิยมของหมู่วัยรุ่นอย่างพอดิบพอดี ทำเอา “ทีมข่าวบันเทิง” ถึงกับอย่างรู้ถึงที่มาที่ไปของชื่อ “Reality” (เรียลลิตี้) นี้ ซึ่งทั้ง 4 สาวก็ได้เล่าให้ฟังว่า“คนส่วนมากจะมอง “GIRLY BERRY” (เกิร์ลลี่ เบอร์รี่) เป็นสาวที่ทันยุคทันสมัย อย่างอัลบั้มที่แล้ว เราก็ใช้ชื่ออัลบั้มว่า “Gossip”
(กอสซิป) เพราะช่วงนั้นเป็นช่วงที่ “ปาปารัสซี่” ครองเมืองมากๆ พอมาถึงอัลบั้มนี้ เราก็ยังคงความทันยุคทันสมัยอยู่ ก็เลยคิดกันว่า น่าจะใช้ชื่อว่า “Reality” (เรียลลิตี้) เพราะในทุกวันนี้ หันไปทางไหน ส่วนมากก็จะเห็นแต่คำว่า “Reality” (เรียลลิตี้) เราก็เลยอยากให้หลายๆคนเห็นการทำงานของพวกเราบ้าง ตั้งแต่การคิดคอนเซ็ปต์อัลบั้ม เสื้อผ้า เบื้องหลังการทำงาน เบื้องหลังมิวสิกวีดีโอ มันจะทำให้เรารู้สึกใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น แฟนเพลงบางคนติดตามเรามาตั้งแต่อัลบั้มแรก แต่ยังไม่เคยได้เห็นการทำงานของเรา เราก็เลยใช้โอกาสนี้สร้างความใกล้ชิด จะได้เห็นถึงความตั้งใจในการทำงานของพวกเรา และยังมีอีกหลายๆภาพ ที่ทุกคนไม่สามารถจะหาดูที่ไหนได้ รับรองว่าจะต้องถูกใจทุกคนแน่ๆค่ะ”
3.กลุ่มเป้าหมาย
4.Concept
: สวย

: สั้น

: สนุก

5.Mod&tone
: เร้าใจ

: สนุกสนาน

: เซ็กซี่

(PROJECT 2) สื่อป้ายโฆษณา
งานครั้งที่ 6 ตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อป้ายโฆษณาบนเว็บ ( web Banner )คือรูปแบบหนึ่งของโฆษณาบนเวิลด์ไวด์เว็บ เป็นการวางภาพโฆษณาลงบนหน้าเว็บแล้วทำลิงค์ กลับไปยังเว็บไซต์ที่โฆษณา ด้วยจุดประสงค์เพื่อดึงดูด ผู้เข้าชมให้เข้าไปยังเว็บ ไซต์ที่โฆษณานั้นผ่านการคลิก เว็บแบนเนอส์ สร้างขึ้นจากไฟล์รูปภาพ ทั้วไปเช่น GIF JPG PNG หรือใช้จาวาสคริปส์ เชื่อมโยงเทคโนโลยีมัลติมีเดียอย่างอื่น เช่น แฟลช ข้อความ จาวา หรือซิลเวอร์ไลต์ เป็นต้น และอาจมีการใช้ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือวีดีโอ มาผสมผสานเพื่อนำเสนอโดดเด่นมากที่สุด
การสร้างสรรค์ผลงาน
เนื้อหาที่ต้องการสื่อในเว็บแบนเนอส์ ก็คล้ายกับป้ายโฆษณาในชีวิตจริง คือการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ให้ลูกค้า หรือคนอื่นทั่วไปพบว่ามีสินค้าหรือบริการอะไรในปัจจุบัน เพื่อเป็นทางเลือกให้กับลูกค้า
ขนาดแบนเนอร์ ที่เป็นที่นิยม
728*90 Pixel : Leader board
เป็นแบนเนอร์ขนาดนิยม ขนาดใหม่ สามารถแสดงข้อมูลสินค้าและบริการได้มาก
ตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุด
ด้านบนถัดลงมา
องค์ประกอบที่ใช้ในการออกแบบแบนเนอร์ มี 6 ชนิด ได้แก่
1. พาดหัว
2. ข้อความโฆษณา
3. ภาพประกอบ
4. สัญลักษณ์ของผู้โฆษณา
5. สี
6. การเคลื่อนไหวและการใช้เสียงประกอบ
หลักการออกแบบแบนเนอร์ที่ดีได้แก่
1. ตัวอักษร
* ขนาดและสัดส่วน ที่เหมาะสม โดยประมาณ
พาดหัว 48 pt
ข้อความ 32 pt
*รูปแบบเหมาะสมสอดคล้องกับบุคลิก(mood & tone )
* รูปแบบไม่ควรเกิน 2-3 แบบ
2. สัญลักษณ์
* ควรกำหนดขนาดให้เด่นหรือด้อย
3. ภาพประกอบ
*ควรใช้ภาพกราฟิก ในการออกแบบมากกว่าภาพถ่าย เนื่องจาก ขนาดของไฟล์ ของภาพลายเส้น (GIF) เล็กกว่าโหลดได้เร็วกว่ากับโฆษณา
4. สี
* ระบุค่าสีในระบบ RGB 216 สี
* พื้นหลังและตัวอักษรควรใช้สีตัดกันให้เด่นชัด
* จับคู่สีให้เหมาะสม ไม่ควรเกิน 2-3 สี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)